องค์ประกอบที่ 1  
  องค์ประกอบที่ 2  
  องค์ประกอบที่ 3  
 
  ตัวบ่งชี้ที่ 3.1
 
  องค์ประกอบที่ 4  
  องค์ประกอบที่ 5  
 
 
  เนติบัณฑิตยสภาฯ  
  สภาทนายความฯ  
  สภาปฏิรูปแห่งชาติ  
  สำนักนายกรัฐมนตรี  
   
 
 
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การบริการวิชาการแก่สังคม
 
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การบริการวิชาการแก่สังคม
ชนิดของตัวบ่งชี้   กระบวนการ
คำอธิบายตัวบ่งชี้
    การบริการวิชาการเป็นภารกิจหลักอีกอย่างหนึ่งของสถาบันอุดมศึกษา คณะควรคำนึงถึงกระบวนการในการให้บริการวิชาการแก่สังคม โดยศึกษาความต้องการของกลุ่มเป้าหมายนำมาจัดทำแผนบริการวิชาการประจำปี ทั้งการบริการวิชาการที่ทำให้เกิดรายได้และการบริการวิชาการที่คณะจัดทำเพื่อสร้างประโยชน์แก่ชุมชน โดยมีการประเมินความสำเร็จของการบริการวิชาการ และนำมาจัดทำเป็นแผนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนแก่นักศึกษาให้มีประสบการณ์จากสภาพจริงและนำมาใช้ประโยชน์จนเกิดผลลัพธ์ที่สร้างความพึงพอใจต่อชุมชนและสังคมอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
เกณฑ์มาตรฐาน
    1. จัดทำแผนการบริการวิชาการประจำปีที่สอดคล้องกับความต้องการของสังคมและกำหนดตัวบ่งชี้วัดความสำเร็จในระดับแผนและโครงการบริการวิชาการแก่สังคมและเสนอกรรมการประจำคณะเพื่อพิจารณาอนุมัติ
    2. โครงการบริการวิชาการแก่สังคมตามแผน มีการจัดทำแผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการเพื่อให้เกิดผลต่อการพัฒนานักศึกษา ชุมชน หรือสังคม
    3. โครงการบริการวิชาการแก่สังคมในข้อ 1 อย่างน้อยต้องมีโครงการที่บริการแบบให้เปล่า
    4. ประเมินความสำเร็จตามตัวบ่งชี้ของแผนและโครงการบริการวิชาการแก่สังคมในข้อ 1 และนำเสนอกรรมการประจำคณะ เพื่อพิจารณา
    5. นำผลการประเมินตามข้อ 4 มาปรับปรุงแผนหรือพัฒนาการให้บริการวิชาการสังคม
    6. คณะมีส่วนร่วมในการบริการวิชาการแก่สังคมในระดับสถาบัน
เกณฑ์การประเมิน
คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ
1 ข้อ
มีการดำเนินการ
2 ข้อ
มีการดำเนินการ
3-4 ข้อ
มีการดำเนินการ
5 ข้อ
มีการดำเนินการ
6 ข้อ
ผลการประเมินตนเอง
เอกสาร 1
เอกสาร 2
เอกสาร 3
เอกสาร 4
เอกสาร 5